“อาจารย์ของเราทั้งหลายย่อมไปสู่บรรณศาลา” ตรงกับภาษาบาลีข้อใด 1) อมฺหากํ อาจริโย ปณฺณสาลํ คจฺฉติ. 2) ตุมฺหากํ อาจริโย ปณฺณสาลํ คจฺฉติ. 3) อาจริโย โว ปณฺณสาลํ คจฺฉติ. 4) อาจริโย เม ปณฺณสาลํ คจฺฉติ. edit
“โจรขโมยโคตัวใดตัวหนึ่งของเศรษฐี” ตรงกับบาลีข้อใด 1) โจโร เสฏฺฐิสฺส ยงฺกญฺจิ โคณํ โจเรติ. 2) โจโร เสฏฺฐิสฺส เยเกจิ โคณํ โจเรติ. 3) โจโร เสฏฺฐิสฺส โยโกจิ โคณํ โจเรติ. 4) โจโร เสฏฺฐิสฺส ยากาจิ โคณํ โจเรติ. edit
“ตํ เม ปาปํ ตยา กตํ, ตุยฺหํ โทโส โหติ” ข้อใดเป็นวิเสสนสรรพนาม 1) ตํ 2) เม 3) ตยา 4) ตุยฺหํ edit
“อินทรีย์ของผู้ประพฤติธรรม” ตรงกับข้อใด 1) ธมฺมจารินา อินฺทฺริยานิ 2) ธมฺมจารึ อินฺทฺริยานิ 3) ธมฺมจาริโน อินฺทฺริยํ 4) ธมฺมจารีหิ อินฺทฺริยํ edit
ข้อใด ไม่ มีการเปลี่ยนรูปวิภัตติ 1) มุนึ ภิกฺขุํ 2) ปุริเสน อาจริเยน 3) มุนิมฺหา คุรุโน 4) คชมฺหิ วานเร edit
คำว่า “รตฺตึ” ในประโยค “พฺราหฺมณา ทิวา จ รตฺตึ จ พลึ เทวตานํ หรนฺติ” เป็นวิภัตติใด 1) ปฐมาวิภัตติ 2) ทุติยาวิภัตติ 3) ปญฺจมีวิภัตติ 4) จตุตถีวิภัตติ edit
“มนุสฺโส ………… สมุทฺทํ ตรติ” ข้อใดเหมาะสมที่จะเติมในช่องว่าง 1) นาวาย 2) นาวํ 3) นาวานํ 4) นาวาสุ edit
“แก่บุคคลผู้ทำบาป” ตรงกับข้อใด 1) ปาปการี 2) ปาปการึ 3) ปาปการินา 4) ปาปการิโน edit
ข้อใดเป็นรูปสำเร็จของ “มุนิ + โย” 1) มุนิโย 2) มุนโย 3) มุนิโน 4) มุนีโย edit
“บุตรทั้งหลายของเศรษฐี” ตรงกับข้อใด 1) เสฏฺฐิสฺส ปุตฺตา 2) เสฏฺฐินา ปุตฺตา 3) เสฏฺฐิมฺหิ ปุตฺตา 4) เสฏฺฐีนํ ปุตฺตา edit
“ตํ + เอว” มีรูปสำเร็จตรงกับข้อใด 1) ตสฺเสว 2) ตญฺเหว 3) เตฺวว 4) ตญฺเญว edit
“สุหุฏฺฐิตํ” เกิดจากการสนธิในข้อใด 1) สุ + หุฏฺฐิตํ 2) สุหุ + ิตํ 3) สุ + อุฏฺฐิตํ 4) สุห + อุฏฺฐิตํ edit
ข้อใดทำสนธิด้วยการเติมพยัญชนะ 1) ตเถว 2) นิปฺผตฺติ 3) ยถายิทํ 4) ปโรสหสฺสํ edit
“ปจฺจุตฺตริตฺวา” เกิดจากการสนธิในข้อใด 1) ป + อุตฺตริตฺวา 2) ปจฺจุ + อุตฺตริตฺวา 3) ปต + อุตฺตริตฺวา 4) ปติ + อุตฺตริตฺวา edit
ข้อใดใช้กับนิคคหิตสนธิ ไม่ ได้ 1) โลป 2) อาเทส 3) สัญโญค 4) อาคม edit
ข้อใดทำสนธิด้วยการซ้อนพยัญชนะ 1) โอนทฺธา 2) อชฺฌคมา 3) ตสฺมาติห 4) วิญฺญาณํ edit
ข้อใดเป็นอาเทสสระสนธิ 1) จตูหปาเยหิ 2) กินฺนุมา 3) อภินนฺทุนฺติ 4) พหฺวาพาโธ edit